วันจันทร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่13

        คำถามที่ผมอยากให้ทุกคนร่วมกันคิด โดยเฉพาะผู้จะเป็นครู คือ
         1) ในปัจจุบัน เด็กไทย (รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีสุขนิสัยที่ดี ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมหรือไม่ เพียงใด  
        ในปัจจุบัน เด็กไทยรวมถึงผู้ใหญ่ไทย ไม่ค่อยมีความใสใจเรื่องต่างๆที่เอยมา เด็กไทยในปัจจุบันมีนิสัยที่ก้าวราว มีอารมณ์ที่รุนแรง   มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่นดื่มเลา   เมายา ผู้ใหญ่ก็มีนิสัยอีกแบบคือมีความเห็นแก่ตัวมากขึ้น   ไม่ค่อยให้ความน่านับถือแก่เด็กและเป็นแบบอย่างที่ดีไม่ได้  แต่บางคนที่ก็ดีมากไป  จนใช้ชีวิติอยู่ในสังคมปัจจุบันไม่ได้ต้องอยู่อย่างลำบากเพระความแกงแย่งชิงดีกัน
        ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภค  การบริโภคของคนปัจจุบันไม่ค่อยเน้นเรื่องของการมีคุณภาพหรือไม่มี   แต่เน้นไปทางด้านรสนิยมกันเป็นจำนวนมากพฤติกรรมการบริโภคจึงน่าเป็นห่วงมากในปัจจุบัน  แต่มีคนส่วนใหญ่ที่เน้นเรื่องนี้มากๆเพราะการมีสุขภาพที่แข็งแรงและยืนยาวถือว่าเป็นสิ่งที่ดี
         พฤติกรรมสุขภาพ  คนในปัจจุบันมีสุขภาพที่ไม่ค่อยดีนักเพราะไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย   อาหารที่ได้รับเข้าไปก็ไม่ค่อยมีประโยชน์   ที่จะได้รับหรือการตอบสนองต่อร่างกาย  คนไทยจึงมีสุขภาพย่ำแย่ป่ายกันมาก มีอายุไม่ค่อยยืนยาวไม่เหมือนคนสมัยก่อนมีอายุยืนเพราะอาหารการกินไม่มีสารพิษ  ไม่มีสิ่งเจือปนมากนักและได้ออกกำลังกายบ้างเช่นการทำไร่  ทำนาถือว่าได้มีการเคลื่อนไหวของร่างกายอยู่บาง
       2) ในปัจจุบันเด็กไทย (รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีกีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง มากน้อยเพียงใด (ทุกครั้งที่ไปโรงพยาบาล แพทย์ไทย มักจะถาม     คำถามว่า มีโรคประจำตัวอะไรบ้างแต่ไม่เคยถามว่า หนู มีกีฬาประจำตัวหรือไม่ มีปฏิทินออก กำลังกายไหม)
        ส่วนใหญ่การมีกีฬาประจำตัวเป็นของตัวเองส่วนมากจะเป็นนักกีฬามากกว่า และเป็นส่วนน้อยที่คนจะใส่ใจเรื่องนี้ จึงมีคนไม่มากนักที่จะมีกีฬาประจำตัวหรือมีปฏิทินไว้ออกกำลังกาย
        การที่ไปโรงพยาบาลแล้วคุณหมอถามว่าท่านมีโรคประจำตัวไหม มันก็ถูกของเขาถ้าไม่ถามจะรักษาถูกได้อย่างไร  แต่ถ้าเป็นการถามเรื่องมีกีฬาประจำตัวหรือเปล่ามีปฏิทินในการออกกำลังกายมันก็สมควรที่จะถามเพราะจะเป็นจุดเริ่มต้นและกระตุ้นให้เด็กไทยและผู้ใหญ่ไทยได้มีจิตสำนึกในการรักษาสุขภาพของตัวเองไม่ให้เจ็บป่วย
       3) เด็กไทยมีความสามารถในการบริหารสุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์ หรือการพัฒนาบุคลิกภาพหรือไม่ เพียงใด (ดูได้จากบรรยากาศการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ในทันทีที่มีการประกาศผลการแข่งขัน จะมี 1 ทีมที่ร้องให้ ควบคุมอารมณ์ไม่ได้)
       ประมาณ40%ที่เด็กไทยไม่สามารถบริหารสุขภาพจิตและควบคุมอารมณ์ได้เพราะการเลี้ยงดูครอบครัวไม่เหมือนกันเด็กอาจมีนิสัยมีพฤติกรรมตามสภาพที่ครอบครัวเป็นอยู่ ในปัจจุบันเหมือนกับที่ยกตัวอย่างในเรื่องการแข็งขันชิงชนะเลิศ เด็กบางคนอาจร้องให้ในการแพ้ และมีอารมณ์รุนแรง มีการทะเลอะวิวาทและมีพฤติกรรมที่แสดงออกไม่เหมาะสมหรือผิหวังเรียงการเรียนอาจฆ่าตัวตายก็มี
       แต่เด็กประมาณ60%จะมีพฤติกรรมที่น่ารักสามารถยอมรับและทำใจได้ไม่ว่าเขาจะอยู่ในสถานการณ์เลวร้ายแค่ไหนก็ทนได้มีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่มันคง ไม่เกิดความหวั่นไหวจากสิ่งต่างๆและไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
       การพัฒนาบุคลิกภาพเด็กไทยและผู้ใหญ่ไทยส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในเรื่องนี้มากขึ้นเพราะทำให้ตัวเองดูสง่าและเป็นที่นับถือแก่ผู้คนที่พบเห็นแต่ก็เป็นวิธีที่ไม่ถูกต้องสักเท่าไหร่นัก
       4) ขณะนี้โรงเรียนได้ให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก พอ ๆ กับ การส่งเสริมด้านวิชาการหรือไม่ โดยเฉพาะในโรงเรียนที่ได้รับค่านิยมสูง (มีชื่อเสียง)
ไม่เพราะโรงเรียนไม่ค่อยให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตสักเท่าไหร่ก็มีน้อยมาก เมื่อเทียบกับเรื่องด้านวิชาการโดยเฉพาะโรงเรียนที่มีได้รับค่านิยมสูงจึงเน้นเรื่องหนาตาและชื้อเสียงของโรงเรียนเป็นส่วนใหญ่ทำกิจกรรมแค่เอาหน้าตาให้กับโรงเรียนหรือเรียกว่าผักชีโรยหน้า
       5) เมื่อเปิดภาคเรียน ภายใน 2 สัปดาห์แรก ครูประจาชั้นได้ทาความรู้จักกับนักเรียนมากน้อยเพียงใด มีการจำแนกเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติหรือไม่ (กลุ่มเสี่ยงหมายถึง ผลการเรียนอ่อน สุขภาพไม่ดี มีปัญหาทางครอบครัว รวมถึงมีผลการเรียนดีมาก เกรดเฉลี่ย 4.00 มาโดยตลอด ซึ่งจะเสี่ยงในเรื่องความเครียด)
           ครูส่วนใหญ่จะแนะนำตัวเองและให้เด็กแนะนำตัวเองและทำความรู้จักกับเพื่อนในห้อง    แต่การจำแนกเด็กเป็นกลุ่มเสียงหรือกลุ่มปกติ  เช่น ผลการเรียนอ่อนสุขภาพไม่ดี มีปันหาครอบครัว รวมไปถึงผลการเรียนดีมากในที่กล่าวมาครูส่วนใหญ่จะไม่แยกเด็กออกจากกันเพราะตัวของเด็กจะถูกมองเป็นปมดอยของคนอื่นๆ และไม่สามารถที่จะพัฒนาตนเองได้ต้องมีเพื่อนที่เก่งกว่าลากเขาไปด้วยจึงควรอยู่กันเพื่อได้ให้ความช่วยเหลือซึ้งกันและกันจะดูกลมกลืนกับไปกับเด็กทั้งไปไม่ทำให้เขารู้สึกมีปมด้อยและไม่ทำให้เด็กเครียดและครอบครัวควรเอาใจใส่เด็กไม่ควรคาดหวังจากตัวเด็กมากเกินไปในเรื่องผลการเรียนเพราะจะทำให้เด็กถูกกดดันและเกิดความเครียดจึงไม่มีคนให้คำปรึกษาหาทางออกไม่ได้

       6) ครูประจาชั้น หรือโรงเรียนได้จัดระบบดูแล-ช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างไรบ้าง เพื่อลดความเสี่ยงในชีวิต(สมัยที่ผมเป็นครูประจำชั้น ผมจะประกาศรายชื่อผู้ช่วยอาจารย์ประจำชั้นโดยเลือกจากนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้นักเรียนเหล่านี้มีโอกาสทางานใกล้ชิดกับครู มีการประชุมร่วมกันสัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
          ให้ความรักความอบอุ่นและให้คำปรึกษาให้เด็กมีความใกล้ชิดอาจารย์หรือผู้ปกครองที่พอจะให้คำปรึกษาได้ และการสอนต้องไม่ทำให้เด็กเครียดและทางโรงเรียนจะต้องเน้นเนื้อหาด้านสุขภาพจิตรและอารมณ์  ฝึกให้เด็กมีความเข้มแข็งและความอดทน  เช่นส่งเสริมให้เด็กจัดกิจกรรม  จัดเป็นกลุ่มระบบครอบครัว  ในแต่ละสัปดาห์ให้รวมกันทำกิจกรรมรวมกันส่งเสริมให้เด็กกล้าคิด กล้าแสดงออก  ทำให้ไม่เครียดและได้มีเพื่อนใหม่มากขึ้น
       7) โรงเรียนมีการพัฒนารายวิชา (วิชาเลือก/วิชาเพิ่มเติม) ที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมอารมณ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ การบริหารจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ฯลฯ หรือไม่ (หลักสูตรประเทศสิงค์โปร์ เด็กอนุบาล ต้องเรียนวิชา การควบคุมอารมณ์”)
        โรงเรียนบางแห่งมีการพัฒนาบุคลิกภาพ   เช่าวิชาเต้นแอโรบิด    บาสเกตบอล    หรือชมรมมารยาทไทย   แต่การควบคุมอารมณ์กับสุขภาพจิตจะไปเน้นในโรงเรียนเด็กพิพิเศษมากกว่าจึงทำให้เด็กทั่วไปไม่ค่อยได้รับการสอนด้านนี้มากเท่าไหร่  จึงทำให้มีปันหาเกิดขึ้นมาก ทั้งในเรื่องอารมณ์   จิตรใจ  และการทำรายตัวเอง
       8) โรงเรียนมีการประเมินมาตรฐานด้าน สุขภาพกาย และสุขภาพจิต เป็นระยะ ๆ อย่างจริงจังมากน้อยเพียงใด
โรงเรียนโดยส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการประเมินในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตแต่เน้นเรื่องวิชาการมากกว่า
       9) โรงเรียนมีแบบประเมิน/แบบสังเกตภาวะสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน เพื่อครูประจาชั้น และ พ่อแม่ใช้ในการสังเกต-ประเมินนักเรียนในความรับผิดชอบ หรือบุตรหลานของตนเอง หรือไม่
มีแต่น้อยมากในแต่ละปีจะมีครั้งเดียวที่มีการประเมินสังเกตภาวะสุขภาพกายและสุขภาพจิตรของนักศึกษาและมีการไปเยี่ยมบ้านของนักเรียนว่ามีความเป็นอยู่อย่างไร  การประเมินควรจะมีทุกเทอมเพราะเป็นการดูแลช่วยเหลือเด็กอย่างใกล้ชิดและได้ลดปัญหาในเรื่องอื่นๆเช่นปัญหายาเสพติด   ปัญหาเด็กฆ่าตัวตาย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น